• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

🥇⚡ความสำคัญของการสำรวจดิน & ระยะห่างจุดเจาะสำรวจ🥇✨🛒

Started by Chanapot, July 25, 2024, 01:30:10 AM

Previous topic - Next topic

Chanapot

🎯📌📢การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation)📌 นับได้ว่ามีความสำคัญในงานวางแผนโครงการก่อสร้างอาคาร✨ สาธารณูปโภคต่าง ๆ📢 ตั้งแต่การจัดซื้อที่ดินที่ตั้งโครงการ👉 งานออกแบบทั้งในขั้นต้น และในขั้นรายละเอียด (Detailed Design)✨ ซึ่งในปัจจุบันงานเจาะสำรวจดินว่ามีความจำเป็นในงานออกแบบทั่วไป🦖 จะพบว่ามีข้อกำหนดรายละเอียด (Specification) การเจาะสำรวจจากภาคเอกชนและรัฐก่อนการออกแบบและก่อสร้างแทบทุกโครงการ📢 โดยเฉพาะภาครัฐที่ตื่นตัวมากขึ้นในด้านความถูกต้อง📢 ความปลอดภัยงานที่ออกแบบ และเป็นการออกแบบที่ประหยัด⚡ ประกอบกับได้มีการพัฒนากฎหมาย และองค์กรต่าง ๆ ควบคู่กันไป เช่น คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (กว.)📌 สภาวิศวกร🌏 สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยที่กระตุ้นให้มีการเจาะสำรวจดินมากขึ้น📌 โดยรวมได้มีความตระหนักถึงความจำเป็นในการเจาะสำรวจดินก่อนออกแบบโครงการมากขึ้น ซึ่งเป็นการถูกต้องตามระบบสากลนานาประเทศ✅ โดยเฉพาะประเทศตะวันตกที่กำหนดการเจาะสำรวจดินเป็นมาตรฐานมานานกว่า 50 ปี✅ เป็นที่น่ายินดีที่ประเทศไทยในที่สุดก็ได้พัฒนามาถึงจุดนี้



🎯🛒✅การเจาะสำรวจที่สมบูรณ์ต้องมีความรู้และเข้าใจข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการออกแบบ👉 วิธีการที่ถูกต้อง👉 ใช้เครื่องมือ เครื่องจักรที่ถูกต้อง🌏 กำหนดปริมาณการเจาะสำรวจดินที่พอเหมาะ🛒 ใช้เทคนิคตามมาตรฐานสากล✅ ทดสอบค่าคงตัวของดินให้ครอบคลุมการออกแบบ🛒 จนกระทั่งในที่สุดจัดทำรายงานผลการเจาะสำรวจดินที่สมบูรณ์🥇 เพื่อนำเสนอแก่ผู้เกี่ยวข้องและผู้ออกแบบ👉 การเจาะสำรวจดินเป็นเรื่องละเอียดอ่อน🦖 มีองค์ประกอบหลายอย่าง🛒 โดยเฉพาะดินเป็นวัสดุธรรมชาติที่ไม่สม่ำเสมอเหมือนวัสดุอุตสาหกรรม📢 เป็นหน้าที่ของวิศวกรผู้เจาะสำรวจจะต้องดูแลดำเนินการการเจาะสำรวจให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และครบถ้วนเพื่อการออกแบบที่ปลอดภัย และประหยัด📢

🎯🎯🎯การกำหนดระยะห่างหลุมเจาะ⚡👉👉👉

✨🦖📢หากยังไม่มีผังอาคารที่แน่นอนในพื้นที่โครงการก่อนเจาะสำรวจดิน✨ และพื้นที่โครงการมีขนาดใหญ่📢 เพื่อความเหมาะสม🛒อาจจะกำหนดหลุมเจาะเป็นตาราง (Grid)✅ มีระยะห่างที่เหมาะสมและเท่ากัน เช่น 20-40 เมตร📌 เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่จะเสียค่าใช้จ่ายเจาะหลุมเจาะที่ไม่มีอาคารก่อสร้างในจุดนั้น ๆ🥇 ในขั้นนี้จึงควรลดค่าใช้จ่ายโดยการแทรกทำการเจาะหยั่ง (Probing, Sounding) ร่วมด้วย🦖 ซึ่งจะประหยัดค่าใช้จ่ายได้จำนวนหนึ่ง✅ เนื่องจากการเจาะหยั่งมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่า🥇 แต่ยังได้ข้อมูลโดยรวมของพื้นที่บริเวณ📢 อนึ่งถ้าในพื้นที่บริเวณโครงการ มีส่วนที่ไม่ปกติ เช่น บ่อน้ำ (ที่จะต้องถม) แนวทางน้ำไหล คูน้ำ คลองเก่า จะต้องกำหนดหลุมเจาะใกล้ตำแหน่งดังกล่าวด้วย✅ เพื่อให้ได้ข้อมูลพอเพียง👉

✨⚡📢ถ้าเป็นไปได้ เมื่อไม่มีสิ่งกีดขวางใด ๆ เช่น อาคารเก่า ไม่มีถนนเข้า เป็นบ่อน้ำขัง📢 จะต้องกำหนดตำแหน่งหลุมเจาะให้ใกล้ตำแหน่งฐานรากอาคารที่จะก่อสร้างมากที่สุด📢 ซึ่งจะมีความสำคัญมากหากชั้นดินในโครงการไม่สม่ำเสมอ🌏 จะต้องทำระดับ (Level) อ้างอิงปากหลุมเจาะให้แน่นอน📌 ในกรณีที่มีการสำรวจผังบริเวณโครงการและทำหมุดอ้างอิง (Reference Benchmark) ไว้ในโครงการ🌏 หรือถ้าเป็นโครงการเล็กที่ไม่ได้ทำการสำรวจพื้นที่โครงการ ก็อาจจะอ้างอิงระดับกับโครงสร้างถาวรภายในโครงการ หรือข้างเคียง เช่น ผิวคอนกรีต หัวตอม่อสะพาน ผิวถนน เป็นต้น🎯 และจะต้องบันทึกข้อมูลในหลุมเจาะว่าเจาะจากผิวดินเดิมหรือผิวดินถม⚡ ซึ่งข้อมูลระดับทั้งหมดจะทำให้สามารถกำหนดความลึกฐานแผ่หรือความยาวเสาเข็มได้แม่นยำ⚡ เมื่อมีการปรับพื้นบริเวณโครงการ เช่น หลังการตัด (Cut) หรือถม (Fill)🌏
Tags : เจาะสำรวจชั้นดิน